วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

บทที่ 7 การแก้ไขปัญหาและการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์

 ปัญหาข้อขัดข้องจากการใช้งานคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ

1.ปัญหาข้อขัดข้องทางฮาร์ดแวร์
2.ปัญหาข้อขัดข้องทางซอร์ฟแวร์
3.ปัญหาข้อขัดข้องที่เกิดจากตัวผู้ใช้

รูปแบบการแจ้งเตือนของไบออส มีอยู่ 2 วิธีด้วยกัน คือ
1.การส่งรหัสเสียงปี๊บ(Beep Code)
2.การแจ้งเตือนผ่านข้อความทางจอภาพ

ปัญหาจากเครื่องเปิดไม่ติด ในบางครั้งอาจเกิดจากสาเหตุที่คาดไม่ถึง เช่น ปลั๊กไฟเสียบไม่แนน่น หรือสายสัญญาณที่เสียบอยู่หลวม

ปัญหาจากเครื่องร้อนผิดปกติ  สามารถครวจสอบสิ่งต่อไปนี้
-ตำแหน่งหรือสถานที่ที่วางเครื่องคอมพิวเตอร์ ว่าอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกหรือไม่ มีวัตถุอะไรวางปิดช่องระบางอากาศหรือเปล่า
-ตรวจดูว่าพัดลมระบายความร้อนยังทำงานดีหรือเปล่า
-ภานในเคส มีสิ่งรกรุงรังอย่างสายไฟ หรือสายเคเบิลต่างๆ ขวางทิศทางการระบายอากาศหรือไม่
-ถ้าคอมพิวเตอร์ใช้งานมานานโดยไม่เคยเป่าฝุ่น ให้เปิดฝาเคสแล้วนำออกไปเป่าฝุ่นภายในออก
-กรณีคอมพิวเตอร์มีการใช้งานมายาวนานหลายปี สารเชื่อมความร้อนอาจเสื่อมสภาพ
-กรณรชุดระบายความร้อนซีพียูเดิม ระบายความร้อนได้ไม่ดีพอ ให้เปลี่ยนชุดใหม่ที่มีคุณภาพ

ข้อขัดข้องจากไฟตก สาามารถใช้อุปกรณ์ UPS มาใช้แก้ไขปัญหา
ข้อขัดข้องจากอาการจอฟ้า มักเกิดจากอุปกรณ์ฮาร์แวร์ภายในเครื่องมีปัญหาเป็นส่วนใหญ่

ปัญหาจากเครื่องขับดีวีดีไม่ยอมเลื่อนถาดออกมา สามารถนำลวดหนีบกระดาษ แล้วดัดให้เป็นแนวตรง จากนั้นให้สอดลวดเข้าไปใน Eject Pin Hold ถาดรองงจะค่อยๆ ขยับออกมา

ปัญหาจากกระดาษติดภายในเครื่องพิมพ์  ทำให้งานพิมพ์ต้องหยุดชะงักกลางคัน ไม่สามารถพิมพ์ต่อไปได้ จนกว่าจะดำเนินการแก้ไขกระดาษที่ติดอยู่ภายในให่เสร็จสิ้นเสียก่อน

การป้องกันและบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ เกี่ยวข้องกับงานต่อไปนี้
-การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
-การทำความมสะอาด
-การขนย้าย

การจัดทำตารางบำรุงรักษา ให้กันคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ จะช่วยให้อุปกรณ์มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น โดยมีทั้งตารางบำรุงรักษารายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน และรายหกเดือน

การทำความสะอาดคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เกี่ยวข้องกับงานต่อไปนี้
- การทำความสะอาดตัวถังเครื่อง
- การทำความสะอาดจอภาพ
- การเป่าฝุ่นภายในเคส
- การทำความสะอาดอะแดปเตอรฺการ์ด
- การทำความสะอาดเมาส์
- การทำควาสะอาดคีบอร์ด
-การทำความสะอาดเครื่อขับและแผ่นซีดี
- การทำความสะอาดเครื่องพิมพ์

ไฟฟ้าสถิต เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ โดยเฉพาะในฤดูหนาวที่มีอากาศแห้ง ความชื้นในอากาศต่ำ ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนัง และหากมีการสัมผัสกับวัตถุที่เป็นตัวนำ จะทำให้เกิดการถ่ายเถเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็ว และถือเป็นอีกปัจจัยสำคัญต่อการสร้างความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  สำหรับวิธีป้องกันคือ
- อย่าสัมผัสกับอุปกรณ์อิเล็กหรอนิกส์โดยตรง
- ควรสัมผัสตัวถังเครื่องก่อนสัมผัสอุปกรณ์ภายในเพื่อคลายประจุลงดิน
- การใส่ถุงมือป้องกันไฟฟ้าสถิต
- การใช้สายรัดข้อมูลป้องกันไฟฟ้าสถิต
- การใช้ของป้องกันไฟฟ้าสถิตในการบรรจุอุปรณ์อิเล็กหรอนิกส์์

มลภาวะทางไฟฟ้า ประกอบด้วย
- ไฟดับ คือกระแสไฟฟ้าหยุดการทำงานโดยทันที ทำให้อุปกรณ์ไม่สามรถจ่ายกระแสไฟฟ้าต่อไฟได้อีก
- ไฟฟตก เกิดจากแรงดันไฟฟ้าลดต่ำลงชั่วขณะ ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าบางชิ้นเกิดออาการติดๆดับๆ
- ไฟกระชาก เกิดจากแรงดันไฟฟ้าสูงขึ้นโดยกระทันหันในช่วงเวลาสั้นๆ
- ไฟเกิน เกิดจากแรงดันไฟฟ้าสูงขึ้นชั่วขณะหนึ่ง
- สัญญาณรบกวน เกิดจากการรบกวนของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นความถี่วิทยุภายในสายส่ง

UPS คืออุปกรณ์สำรองไฟฟ้า โดยภายในเครื่องจะมีแบตเตอรี่สำรอง ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าแบบกระแสตรงไว้ใช้งานในยามฉุกเฉิน ครั้นเมื่อไฟฟ้าดับ ก็จะมีเวลาพอในการสั่งบันทึกข้อมูลและสั่งปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ตามปกติ

ชนิดของ UPS ประกอบด้วย
1.Off-Line UPS ทำหน้าที่ป้องกันปัญหากรณีไฟฟ้าดับได้เพียงอย่างเดียว
2.On-Line Protection UPS ภายในจะมีระบบป้องกันแรงดันไฟฟ้า (ไฟเกินและไฟตก)โดยจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Stabilizer ทำหน้าที่ปรับระดับแรงดันไฟฟ้าให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
3.True On-Line UPS เป็น UPS ที่มีระบบป้องกันมลภาวะทางไฟฟ้าอย่างครบครันและยังมีระบบสำรองไฟฟ้าที่ยาวนานนับชั่วโมง เหมาะกับธุรกิจอุตสาหกรรมและเคครื่องมือแพทย์์

แนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
1.หลีกเลี่ยงการใช้สื่อจากแหล่งอื่นในการบูตเครื่อง
2.ตั้งค่าระดับความปลอดภัยในโปรแกรมประยุกต์ เพื่อป้องกันไวรัสมาโคร
3.การใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
4.ไม่ควรเปิดไฟล์เอกสารที่มีไวรัสแฝงตัวอยู่
5.ควรตรวจสอบสื่อบันทึกข้อมูลก่อนใช้งานเสมอ
6.ป้องกันการบันทึกข้อมูลด้วยการ Write Protect
8.หมั่นสำรองข้อมูล

บทที่ 6 การปรับแต่งระบบปฏิบัติการและเทคนิคพื้นฐานที่ควรรู้

ในบทนี้ ได้เรียนรู้การปรับแต่งระบบปฏิบัติการ รวมถึงเทคนิคพื้นฐานอื่นๆ อันประกอบด้วย

- การกำหนดไอคอนเพิ่มเติมบนเดสก์ท็อป

- การตั้งค่าวันและเวลา



- การกำหนดภาพพื้นหลัง ( Background )



- การวางไอคอนโปรแกรมลงบนตำแหน่งที่ต้องการ


- การตั้งค่าพลังงาน ( Power Option)


- การตั้งค่าให้กับอุปกรณ์เมาส์


- การแสดงรายละเอียดของสเปกเครื่อง


- การตั้งค่าความละเอียดให้กับจอภาพ



- การตั้งค่าอัปเดต


- การตั้งค่าเวลาปิดเครื่องอัตโนมัติ


- การตั้งค่าเวลาเปิดเครื่องอัตโนมัติ


- การตั้งค่า Safe Mode



- การตั้งค่าฟอนต์เพิ่มเติม


- การถอนโปรแกรมออกจากเครื่อง







- การเชื่อมต่อใช้งาน 2 จอภาพ


- การปิดเครื่องเครื่องใน Windows 8.1